tải 68 game bàiLiên kết đăng nhập

tải 68 game bài

เลือก RCD แบบไหนดี? ไขข้อสงสัย RCCB กับ RCBO ต่างกันอย่างไร

tải 68 game bàiLiên kết đăng nhập

เลือก RCD แบบไหนดี? ไขข้อสงสัย RCCB กับ RCBO ต่างกันอย่างไร

ไฟรั่วเป็นปัญหาที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น ดังนั้น เราจะมาดูกันว่าจะสามารถป้องกันไม่ให้ปัญหาดังกล่าวเกิดขึ้นได้อย่างไรบ้าง มาดูคู่มือเลือกซื้อเครื่องตัดไฟรั่ว เลือกแบบไหนถึงจะเหมาะกับบ้านเรา แล้วระหว่าง RCCB กับ RCBO ต่างกันอย่างไร มีประเภทไหนบ้าง แต่ละประเภทเหมาะกับการใช้งานแบบไหน ไปดูพร้อมๆ กันผ่านบทความนี้ได้เลย!

tải 68 game bàiLiên kết đăng nhập

เครื่องตัดไฟรั่ว (RCD) คืออะไร?

เครื่องตัดไฟรั่ว (Residual Current Device: RCD) จะทำงานเมื่อเกิดการไหลของกระแสไฟฟ้าเข้า-ออกที่มีค่าไม่เท่ากัน หรืออาจกล่าวได้ว่า เมื่อมีกระแสไฟส่วนใดส่วนหนึ่งรั่วหายไป โดยเครื่องตัดไฟฟ้าจะทำการตัดไฟฟ้าอัตโนมัติ เพื่อป้องกันอันตรายจากการรั่วไหลของไฟฟ้า ไม่ว่าจะเป็นจากเครื่องใช้ไฟฟ้าลงดินโดยตรง หรือกระแสไฟฟ้าที่รั่วมาสัมผัสผู้ที่กำลังใช้งาน และสัมผัสอุปกรณ์เพื่อไหลลงไปสู่ดินอีกที ทั้งนี้ ในตอนที่ไม่มีไฟรั่วเครื่องตัดไฟรั่วก็จะไม่ได้ทำงาน เพราะจะทำงานเฉพาะตอนที่ไฟฟ้าเกิดการรั่วเท่านั้น

tải 68 game bàiLiên kết đăng nhập

ประโยชน์ของเครื่องตัดไฟรั่ว (RCD)

เรามาดูกันว่าเครื่องตัดไฟรั่ว (RCD) มีประโยชน์อะไรบ้าง ดังนี้ 

  • ป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟดูด ไม่ว่าจะสัมผัสตัวนำไฟฟ้าโดยตรง หรือสัมผัสโดยอ้อม
  • ป้องกันอัคคีภัยที่อาจเกิดขึ้นจากไฟรั่ว  
  • ช่วยทำให้เราทราบถึงการไหลของกระแสไฟฟ้า ในบางครั้งที่มีการชำรุด กระแสไฟไหลลงดิน ก็จะทำให้สามารถแก้ไข และซ่อมแซมได้ทันท่วงที
tải 68 game bàiLiên kết đăng nhập

RCD มีกี่ประเภท อะไรบ้าง?

RCD มีหลากหลายประเภท ไม่ว่าจะเป็น Type AC, A และ B เรามาดูกันว่าแต่ละประเภทมีลักษณะแบบไหน และมีความแตกต่างกันอย่างไร ดังนี้

RCD Type AC

RCD Type AC คือเครื่องตัดไฟรั่วที่จะจับไฟรั่วที่มีวงจรเป็นแบบกระแสสลับเท่านั้น ซึ่งเครื่องตัดไฟประเภทนี้ สามารถนำไปใช้ได้กับตัวทำความร้อน เครื่องทำน้ำอุ่น เครื่องทำน้ำร้อน เตาไฟฟ้า หลอดไฟฟ้าแสงสว่าง ทั้งไส้ทังสเตน และแบบฮาโลเจน เป็นต้น

RCD Type A

RCD Type A คือเครื่องตัดไฟรั่วชนิดที่มีรูปคลื่นกระแสจากผลของวงจรแบบเรียงกระแส (Rectifier) แบบเฟสเดียว โดยเราสามารถนำไปใช้งานได้กับอุปกรณ์ที่หลากหลาย และสามารถใช้ร่วมกับ RCD Type AC ที่เป็นกระแสสลับ ใช้กับ DC Pulsating หรือใช้กับ Halfwave Rectified ที่มีกระแสตรงผสมไม่เกิน 6mA ได้ ตัวอย่างของอุปกรณ์ เช่น เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ อินเวอร์เตอร์ อุปกรณ์ไอที class 1 เตาไฟฟ้าแบบเหนี่ยวนำ อุปกรณ์หรี่ไฟ (Dimmer) ระบบอิเล็กทรอนิกส์ในบ้าน หรืออาคาร และเครื่องประจุไฟฟ้าสำหรับ EV เป็นต้น

RCD Type B

RCD Type B คือเครื่องตัดไฟที่มีรูปคลื่นกระแสจากผลของวงจรควบคุมความถี่ โดย RCD Type B สามารถใช้ได้กับ Type AC และ Type A ได้ หรือกล่าวง่ายๆ เลยคือสามารถวัดคลื่นได้ทุกรูปแบบนั่นเอง นอกจากนี้ ยังสามารถใช้ได้กับอินเวอร์เตอร์ควบคุมความเร็ว UPS เครื่องประจุไฟฟ้าสำหรับ EV ระบบการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ และคอนเวอร์เตอร์ หรือตัวแปลงความถี่ หรือในตัวแปลงไฟฟ้ากระแสสลับเฟส 3 เป็นกระแสตรง เช่น ลิฟต์ บันไดเลื่อน เครื่องเชื่อม เป็นต้น

RCD Type A กับ B ต่างกันอย่างไร?

เรามาดูกันว่า RCD Type A กับ B แตกต่างกันอย่างไรบ้าง โดย RCD Type A และ RCD Type B มีการจับกระแสไฟฟ้าที่แตกต่างกัน โดย RCD Type A จะจับกระแสไฟแบบสลับ และแบบเรียงกระแสได้ ในขณะที่ RCD Type B สามารถจับกระแสได้ทุกรูปแบบ ทั้งแบบของ RCD Type AC และ RCD Type A เลย นอกจากนี้ โครงสร้างของกันดูด Type B จะมีขดลวด 2 ชุด แต่ใน Type A จะมีขดลวดเพียง 1 ชุด ซึ่งขดลวดของ Type B จะมีความพิเศษของขดลวดที่จะช่วยจับการรั่วไฟของกระแสตรงได้ (DC) อีกทั้ง มาตรฐานกันดูดของ RCD B ก็จะพิเศษ และแตกต่างกับมาตรฐานของชนิดอื่นด้วยเช่นกัน

tải 68 game bàiLiên kết đăng nhập

เครื่องตัดไฟรั่ว มีกี่ชนิด

เครื่องตัดไฟรั่วมีด้วยกันหลายชนิด โดยแต่ละชนิดนั้นมีอะไรบ้าง และมีความแตกต่างกันอย่างไร ไปดูกัน!

เครื่องตัดวงจรใช้กระแสเหลือแบบไม่มีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (RCCB)

Residual Current Circuit Breaker (RCCB) หรือเบรกเกอร์กันดูด ทำหน้าที่เพื่อป้องกันไฟรั่ว ไฟดูด โดยมีหลักการทำงานแบบ VI กล่าวคือ หลักการทำงานที่ไม่ได้ขึ้นอยู่กับ Voltage ไม่ต้องมีไฟมาเลี้ยงวงจรก็สามารถทำงานได้ตามปกติ โดยสามารถแบ่งออกเป็น Type ต่างๆ ได้ดังนี้ 

  • RCCB Type AC ใช้เพื่อการตรวจจับกระแสไฟรั่ว กระแสไฟสลับที่ 50 Hz เหมาะสำหรับการใช้งานทั่วไป 
  • RCCB Type A คือเพื่อตรวจจับกระแสไฟรั่ว ไฟฟ้ากระแสสลับที่ 50 Hz เหมาะกับกระแสไฟรั่วชนิดพัลซ์กระแสตรง 
  • RCCB Type B คือเพื่อตรวจจับกระแสไฟรั่ว ไฟฟ้ากระแสสลับหลากหลายความถี่ เหมาะกับกระแสไฟฟ้าชนิดพัลซ์กระแสตรง ที่สามารถทนต่อไฟกระชาก และกระแสไฟรั่วชนิดไฟฟ้ากระแสตรง 

แล้ว RCCB Type A กับ B มีความแตกต่างกันอย่างไร? โดย RCCB Type A คือจะสามารถจับกระแสแบบ AC และแบบ DC พัลซ์กระแสตรง ในขณะที่ RCCB Type B คือสามารถตรวจจับกระแสได้ทุกอย่างแบบที่ Type A ทำได้ ทั้งกระแสแบบเรียบ แบบตรง หรือกระแสที่มีความถี่ผันแปร 

ข้อดี

ข้อดีของ RCCB มีดังนี้ 

  • ป้องกันข้อผิดพลาด และความขัดข้องที่จะเกิดจากกระแสไฟรั่วที่ไม่เป็นไปตามวงจร
  • ตัดไฟทันทีเมื่อพบความผิดปกติ หรือเหตุขัดข้องของอุปกรณ์
  • ตรวจสอบ และตรวจจับคลื่นไฟฟ้าที่มีความผิดปกติได้ในระดับที่สูง
  • ช่วยป้องกันการผันผวนของแรงดันไฟฟ้า และการชนกันของกระแสไฟฟ้า
  • มีความเสถียรสูง เพื่อให้ป้องกัน และรักษาความปลอดภัยของระบบไฟฟ้าได้ดี 

ข้อจำกัด

ข้อจำกัดของ RCCB มีดังนี้ 

  • ไม่สามารถทำงานได้เต็มที่หากแรงดันไฟฟ้ามีขั้วที่ต่ำเกินไป 
  • ประสิทธิภาพอาจผันแปรไป หรือทำงานได้ไม่เต็มประสิทธิภาพหากสภาพแวดล้อมภายนอกไม่เหมาะสม เช่น ร้อนมากเกินไป
  • หากเกิดการติดตั้งที่ผิดพลาด และไม่ถูกต้อง ก็จะส่งผลต่อการทำงานที่ไม่เต็มประสิทธิภาพทันที
  • การทำงานจะสิ้นสุด หรือจบลงถ้าการทำงานของ RCCB มีปัญหา และมีข้อบกพร่อง
  • RCCB บางชนิดไม่เหมาะต่อการใช้งานในบางประเภทที่ความเสถียรต่ำ และไม่มีความคงที่

เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือชนิดมีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (RCBO)

Residual Current Device (RCBO) คือสิ่งที่จะช่วยป้องกันกระแสไฟฟ้าที่รั่วไหล ที่เป็นการรวมเอาคุณสมบัติของ RCD (Residual Current Device) และ MCB (Miniature Circuit Breaker) เข้าไว้ด้วยกัน อีกทั้งยังช่วยป้องกันกระแสไฟฟ้าที่มีขนาดใหญ่มากเกินไป ดังนั้น RCBO จึงช่วยป้องกันระบบไฟฟ้าได้อย่างครอบคลุม ซึ่ง RCBO มี 3 ประเภท คือ Type A, Type B และ Type C  ซึ่งเบรกเกอร์ Type A กับ Type B ต่างกันอย่างไรนั้น สามารถอธิบายได้คือ Type A เหมาะสำหรับกระแสเกินในระดับต่ำ Type B เหมาะสำหรับกระแสเกินระดับกลาง และ Type C เหมาะสำหรับกระแสเกินในระดับสูงนั่นเอง 

ข้อดี

ข้อดีของ RCBO มีดังนี้ 

  • ป้องกันการรั่วของไฟ และป้องกันการกระตุกของไฟ และกระแสไฟที่มีระดับสูง
  • สามารถติดตั้งได้ง่าย และสะดวก โดยไม่จำเป็นต้องมีอุปกรณ์อื่นเพิ่มเติม
  • มีความทนทาน และสามารถทำงานได้เสถียร 
  • มีฟังก์ชันการทดสอบอัตโนมัติ (Auto-Test) และแจ้งเตือนเมื่อเกิดปัญหา
  • มีขนาดที่เล็ก สามารถติดตั้งในพื้นที่ที่จำกัดได้ 

ข้อจำกัด

ข้อจำกัดของ RCBO มีดังนี้ 

  • ราคาสูง เนื่องจากมีคุณสมบัติของ RCD และ MCB รวมอยู่ด้วยกัน
  • มีความซับซ้อนในการบำรุงรักษา และการติดตั้ง เพราะต้องคำนึงถึงการตั้งค่า และการทดสอบการทำงาน
  • มีการทำงานที่ซับซ้อน
  • มีข้อจำกัดในการเลือกความไวในการตัดไฟฟ้า
  • ต้องมีการทดสอบระบบอยู่เสมอ

เครื่องตัดวงจรกระแสเหลือชนิดมีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน (RCBO)

มาดูกันว่า RCCB และ RCBO มีความแตกต่างกันอย่างไรบ้าง จากที่เราพอจะได้ทราบข้อมูลกันมาแล้ว โดยความแตกต่างคือ RCCB จะช่วยตัดวงจรไฟฟ้าเมื่อตอนที่เกิดการรั่วไหลเท่านั้น จะไม่สามารถตัดกระแสไฟที่เกิน หรือว่าลัดวงจรได้ ในขณะที่ RCBO คืออุปกรณ์ที่จะช่วยป้องกันไฟดูด อีกทั้งยังสามารถตัดกระแสไฟได้ ทั้งในกรณีไฟรั่ว และไฟฟ้าลัดวงจร

tải 68 game bàiLiên kết đăng nhập

เลือกเครื่องตัดไฟรั่วอย่างไรให้เหมาะกับการใช้งาน

หลังจากที่ได้รู้กันบ้างแล้วว่า RCD และ RCCB คืออะไร และ RCCB กับ RCBO ต่างกันอย่างไร ต่อจากนี้ มาดูกันว่า การเลือกเครื่องตัดไฟรั่วให้เหมาะสมต่อการใช้งานมีวิธีเลือกอย่างไรบ้าง

เลือกเครื่องตัดไฟรั่วให้ถูกชนิด

เครื่องตัดไฟรั่วแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันออกไป ไม่ว่าจะเป็นลักษณะของการทำงาน ความสามารถในการทนต่อกระแสไฟขนาดต่างๆ ที่แตกต่างกัน หรือต่อลักษณะของกระแสที่แตกต่างกันออกไป ดังนั้น ผู้ใข้งานควรต้องรู้ลักษณะ และความต้องการในการใช้งานของตัวเองก่อน เพื่อทำให้สามารถเลือกติดตั้งเครื่องตัดไฟรั่วได้ถูกชนิด ไม่ก่อให้เกิดอันตรายในระหว่างการใช้งาน และเพื่อทำให้สามารถใช้เครื่องตัดไฟรั่วได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ

เลือกเครื่องตัดไฟรั่วให้ถูกประเภท

การเลือกประเภทของเครื่องตัดไฟรั่วเป็นขั้นตอนสำคัญ ที่เราจะต้องเลือก และตัดสินใจให้ดีก่อนนำมาใช้งาน โดยต้องศึกษาให้ดีว่า เครื่องตัดไฟรั่ว RCCB กับ RCBO มีความต่างกันอย่างไร ไม่ว่าจะเป็นเครื่องตัดวงจรกระแสไฟที่เลือกแบบมีอุปกรณ์ หรือแบบไม่มีอุปกรณ์ ซึ่งแต่ละประเภทก็จะมีคุณสมบัติ และความเหมาะสมของการใช้งานที่แตกต่างกันออกไป

เลือกเครื่องตัดไฟรั่วที่มีฉลาก มอก.

แน่นอนว่าการจะเลือกเครื่องใช้ไฟฟ้าให้ได้มาตรฐานจะต้องมีฉลาก มอก. เช่นเดียวกับเครื่องตัดไฟรั่ว ก็ต้องมีฉลากมอก. ที่ประทับตรามอก. 909-2548 สำหรับเบรกเกอร์กันไฟรั่วที่มีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน RCBO หรือ มอก. 2425-2552 สำหรับเบรกเกอร์กันไฟรั่วที่ไม่มีอุปกรณ์ป้องกันกระแสไฟเกิน RCCB โดยจะต้องมีพิกัดไฟฟ้ารั่วไม่เกิน 3 มิลลิแอมป์

เลือกเบรกเกอร์ให้เหมาะสม

การเลือกเบรกเกอร์ให้เหมาะสมคือการเลือกตามขนาดของกระแสในการใช้งานตามวงจรนั้นๆ เช่น ขนาดเซอร์กิตเบรกเกอร์ 20 A จะต้องเลือกขนาดของเบรกเกอร์กันไฟรั่วที่มีกระแสการใช้งานไม่ต่ำกว่า 20 A

สรุป

RCD คือเบรกเกอร์ตัดไฟรั่ว หรือเครื่องตัดไฟฟ้าอัตโนมัติเมื่อมีกระแสไฟเกิน เพื่อป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านมาสู่ตัวเรา เนื่องจากเมื่อกระแสไฟฟ้าบางส่วนที่มีการรั่วหายไป หากสัมผัสโดนตัวคน ก็จะทำให้เกิดอันตรายได้ RCB นั้นมีกี่ประเภท และ RCCB กับ RCBO มีความแตกต่างกันอย่างไรนั้น กล่าวคือ เครื่องตัดวงจรใช้กระแสเหลือแบบไม่มีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกิน หรือ RCCB ในขณะที่เครื่องตัดวงจรกระแสไฟเหลือแบบมีอุปกรณ์ป้องกันกระแสเกินคือ RCBO โดยทั้งสองประเภทนี้เองก็มีชนิดหรือ Type แยกย่อยที่แตกต่างกันออกไปอีก ไม่ว่าจะเป็นแบบกระแสตรง เรียงกระแส หรือแบบกระแสสลับ ในฐานะผู้ใช้งานควรจะมีการเรียนรู้ว่า RCCB กับ RCBO ต่างกันอย่างไร หากเราจะติดตั้งเพื่อใช้งาน ควรใช้แบบไหน เพื่อทำให้การใช้งานก่อให้เกิดประสิทธิภาพมากที่สุด และเพื่อให้เกิดความปลอดภัยต่อตัวผู้ใช้งานด้วยเช่นกัน

Leave A Reply

68 game bài đổi thưởng tải app 8xbet Đăng nhập qh88 bk8vietnam bk8 casino